ส่วนประกอบของระบบกังหันลมขนาดใหญ่สำหรับผลิตไฟฟ้า
1. ใบพัด
2. เพลาแกนหมุน
4. ห้องเครื่อง
5. เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
6. ระบบควบคุมไฟฟ้า
7 . ระบบเบรค
8 . แกนคอหมุนรับทิศทางลม
8 . แกนคอหมุนรับทิศทางลม
9 . เครื่องวัดความเร็วลมและทิศทางลม
10 . เสากังหันลม
โครงการ ศึกษา วิจัย พัฒนาและสาธิตต้นแบบเทคโนโลยีกังหันลมผลิตไฟฟ้าความเร็วลมต่ำ
หลักการและเหตุผล
เพื่อทำการ ศึกษา วิจัย พัฒนา สาธิตต้นแบบ กังหันลมผลิตไฟฟ้าที่มีความเร็วลมเฉลี่ยเหมาะสมกับลมในประเทศไทย
ความเป็นมาของโครงการ
เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยได้ให้ความสำคัญและสนใจในการพัฒนาด้านพลังงานทด แทนและพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น เพื่อทดแทนการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงที่ต้องซื้อหาจากต่างประเทศ ที่นับวันมีราคาแพงขึ้น กระทรวงพลังงาน ได้กำหนดกลยุทธ์การ ส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตพลังงานทดแทนอื่นๆ และพลังงานลมเป็นพลังงานทางเลือกหนึ่งในการสนับสนุนพัฒนาให้เป็น ไปตาม ยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ เทคโนโลยีกังหันลมจึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญ เพื่อการเลือกหาผลิต ขึ้นมาใช้งานให้มีความเหมาะสมกับความเร็วลมที่มีอยู่ใน พื้นที่ ด้วยประเทศไทยอยู่ใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรทำให้ได้รับแรงลมเฉลี่ยทั้ง ปีต่ำถึง ปานกลาง การที่จะพัฒนาพลังงานลมเพื่อใช้ประโยชน์จึงจำเป็นต้องศึกษารูปแบบกังหันลม ผลิตไฟฟ้าให้มีความเหมาะสมกับ ความเร็วลมที่มีอยู่ จึงได้เริ่มดำเนินการวิจัย จัดหา สาธิต
การใช้ประโยชน์จากกังหันลมความเร็วลมต่ำ และสามารถผลิตชิ้นส่วนเพื่อประกอบระบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าขึ้นมาใช้งานใน ประเทศ เพื่อลดต้นทุนและสร้างความเชื่อมั่นในการใช้ประโยชน์จากกังหันลมผลิตไฟฟ้า ด้วยแต่ละพื้นที่ ที่มีความเร็วลมแตกต่างกัน หากได้ต้นแบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน ติดตั้งง่าย และสามารถส่งเสริม อุตสาหกรรมการผลิต เทคโนโลยีกังหันลมขึ้นได้ภายในประเทศก็สามารถที่จะช่วยลด ต้นทุนการซื้อหาจากต่างประเทศที่มีราคาแพงและสามารถขยายผล
โดยการส่งเสริมให้ มีการใช้ในครัวเรือน ชุมชนขนาดเล็ก ผู้ประกอบการ ครัวเรือน ที่ต้องการใช้พลังงานลมในการผลิตไฟฟ้าใช้ในกิจ กรรมต่างๆ ของตนเอง เพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืน ในการจัดหาพลังงานให้กับตนเองอีกทั้งจะทำให้กังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก ที่ผลิตได้ในประเทศมีราคาถูกลง เป็นการสร้างแรงจูงใจในการเลือกหามาติดตั้งใช้งานในพื้นที่ที่ห่างไกลหรือในพื้นที่บริเวณเกาะของ
ผู้ประกอบการมากขึ้น อีกทั้งยังจะช่วยรักษาสภาพแวดล้อม ไม่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน
เนื่องจากเป็นพลังงานจากธรรมชาติ ไม่ต้องซื้อหา ไม่มีราคาค่าเชื้อเพลิง และเป็นการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาระบบการผลิต ไฟฟ้าจากกังหันลมในอนาคตได้ อย่างยั่งยืนและมีความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศได้ในระยะยาว รูปแบบกังหันลมที่เหมาะสม จำเป็นต้องมีการออกแบบให้สามารถทำงานได้ดีมีความ เหมาะสมกับความเร็วลมเฉลี่ย 5-6 เมตรต่อวินาที ซึ่งเป็นความเร็วลมในประเทศที่มีอยู่เป็นส่วนใหญ่ และควรมีความสามารถในการผลิตเต็มกำลังการผลิตสูงสุดที่ความเร็วลมไม่เกิน10 เมตรต่อวินาที จึงจะเป็น
รูปแบบกังหันลมที่มีความเหมาะสมสำหรับความเร็วลมต่ำไปจนถึงระดับ ความเร็วลมปานกลาง อย่างไรก็ตามเราไม่สมควรที่จะออก แบบกังหันลมให้มีกำลังการผลิตสูงสุดที่ความ เร็วลมต่ำมากๆ เพราะจะไม่คุ้มค่าในทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม
เนื่องจากกังหันลมมีการผลิตพลังงานตามความเร็วลมยกกำลังสาม จึงวิเคราะห์ในเบื้องต้นได้ว่าหากต้องการความเหมาะสมที่แท้จริงก็ต้องคำนึง ถึงจุดคุ้มค่า คุ้มทุนในทางวิศวกรรมการออกแบบและการผลิตเป็นหลักควบคู่กันไปด้วย การศึกษาออกแบบการ ผลิตกังหันลมจากต่างประเทศมีการใช้ความเร็วลมเฉลี่ยค่อน ข้างสูง ด้วยมีพลังงานลมสูง และต้องการนำพลังงานลมมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์เต็มกำลังที่ มีอยู่ ดังนั้นต้องนำกังหันลมมาวิเคราะห์ด้านเทคโนโลยีให้มีความเหมาะสมสำหรับการใช้งานในประเทศ และ ออกแบบเพื่อสร้างต้นแบบที่เครื่องจักรและขีดความสามารถของบริษัทผู้ผลิต ที่มีอยู่ในปัจจุบันสามารถผลิตขึ้นได้ด้วย โดยเฉพาะ ในด้านวัสดุศาสตร์ที่เป็นปัจจัยหลักต่อการออกแบบและการผลิตทาง วิศวกรรม โดยอาจมีการดัดแปลงเทคโนโลยีในการผลิตให้มี ความเหมาะสมต่อข้อจำกัดในทาง วัสดุวิศวกรรมเข้าด้วยกัน เมื่อสร้างและติดตั้งต้นแบบแล้วจะต้องมีการวิเคราะห์เปรียบเทียบผล ด้าน พลังงานที่ผลิตได้ ราคาต่อหน่วยในการผลิตการลงทุน เพื่อทำการสรุปผลและแนวทางการส่งเสริมให้มีการผลิตการใช้กังหัน ลมผลิตไฟฟ้า ในประเทศไทย
รายละเอียด
กังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าขนาด 5 กิโลวัตต์ จำนวน3 ชุด เป็นระบบเชื่อมต่อกับสายส่งหลักในสระเก็บน้ำพระรามเก้า โดยมีกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าแบบแนวแกนนอน 2 ชุด ผลิตในประเทศ 1 ชุดนำเข้า 1 ชุด และกังหันผลิตกระแสไฟฟ้าแบบแกนตั้ง 1 ชุดเพื่อทดสอบศักยภาพ การผลิตพลังงานต่อความเร็วลมระดับต่างๆเพื่อความเหมาะสมต่อการใช้งานและการขยายผลทางด้านพลังงานทดแทนต่อไป
เพื่อทำการ ศึกษา วิจัย พัฒนา สาธิตต้นแบบ กังหันลมผลิตไฟฟ้าที่มีความเร็วลมเฉลี่ยเหมาะสมกับลมในประเทศไทย
ความเป็นมาของโครงการ
เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยได้ให้ความสำคัญและสนใจในการพัฒนาด้านพลังงานทด แทนและพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น เพื่อทดแทนการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงที่ต้องซื้อหาจากต่างประเทศ ที่นับวันมีราคาแพงขึ้น กระทรวงพลังงาน ได้กำหนดกลยุทธ์การ ส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตพลังงานทดแทนอื่นๆ และพลังงานลมเป็นพลังงานทางเลือกหนึ่งในการสนับสนุนพัฒนาให้เป็น ไปตาม ยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ เทคโนโลยีกังหันลมจึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญ เพื่อการเลือกหาผลิต ขึ้นมาใช้งานให้มีความเหมาะสมกับความเร็วลมที่มีอยู่ใน พื้นที่ ด้วยประเทศไทยอยู่ใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรทำให้ได้รับแรงลมเฉลี่ยทั้ง ปีต่ำถึง ปานกลาง การที่จะพัฒนาพลังงานลมเพื่อใช้ประโยชน์จึงจำเป็นต้องศึกษารูปแบบกังหันลม ผลิตไฟฟ้าให้มีความเหมาะสมกับ ความเร็วลมที่มีอยู่ จึงได้เริ่มดำเนินการวิจัย จัดหา สาธิต
การใช้ประโยชน์จากกังหันลมความเร็วลมต่ำ และสามารถผลิตชิ้นส่วนเพื่อประกอบระบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าขึ้นมาใช้งานใน ประเทศ เพื่อลดต้นทุนและสร้างความเชื่อมั่นในการใช้ประโยชน์จากกังหันลมผลิตไฟฟ้า ด้วยแต่ละพื้นที่ ที่มีความเร็วลมแตกต่างกัน หากได้ต้นแบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน ติดตั้งง่าย และสามารถส่งเสริม อุตสาหกรรมการผลิต เทคโนโลยีกังหันลมขึ้นได้ภายในประเทศก็สามารถที่จะช่วยลด ต้นทุนการซื้อหาจากต่างประเทศที่มีราคาแพงและสามารถขยายผล
โดยการส่งเสริมให้ มีการใช้ในครัวเรือน ชุมชนขนาดเล็ก ผู้ประกอบการ ครัวเรือน ที่ต้องการใช้พลังงานลมในการผลิตไฟฟ้าใช้ในกิจ กรรมต่างๆ ของตนเอง เพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืน ในการจัดหาพลังงานให้กับตนเองอีกทั้งจะทำให้กังหันลมผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก ที่ผลิตได้ในประเทศมีราคาถูกลง เป็นการสร้างแรงจูงใจในการเลือกหามาติดตั้งใช้งานในพื้นที่ที่ห่างไกลหรือในพื้นที่บริเวณเกาะของ
ผู้ประกอบการมากขึ้น อีกทั้งยังจะช่วยรักษาสภาพแวดล้อม ไม่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน
เนื่องจากเป็นพลังงานจากธรรมชาติ ไม่ต้องซื้อหา ไม่มีราคาค่าเชื้อเพลิง และเป็นการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาระบบการผลิต ไฟฟ้าจากกังหันลมในอนาคตได้ อย่างยั่งยืนและมีความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศได้ในระยะยาว รูปแบบกังหันลมที่เหมาะสม จำเป็นต้องมีการออกแบบให้สามารถทำงานได้ดีมีความ เหมาะสมกับความเร็วลมเฉลี่ย 5-6 เมตรต่อวินาที ซึ่งเป็นความเร็วลมในประเทศที่มีอยู่เป็นส่วนใหญ่ และควรมีความสามารถในการผลิตเต็มกำลังการผลิตสูงสุดที่ความเร็วลมไม่เกิน10 เมตรต่อวินาที จึงจะเป็น
รูปแบบกังหันลมที่มีความเหมาะสมสำหรับความเร็วลมต่ำไปจนถึงระดับ ความเร็วลมปานกลาง อย่างไรก็ตามเราไม่สมควรที่จะออก แบบกังหันลมให้มีกำลังการผลิตสูงสุดที่ความ เร็วลมต่ำมากๆ เพราะจะไม่คุ้มค่าในทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม
เนื่องจากกังหันลมมีการผลิตพลังงานตามความเร็วลมยกกำลังสาม จึงวิเคราะห์ในเบื้องต้นได้ว่าหากต้องการความเหมาะสมที่แท้จริงก็ต้องคำนึง ถึงจุดคุ้มค่า คุ้มทุนในทางวิศวกรรมการออกแบบและการผลิตเป็นหลักควบคู่กันไปด้วย การศึกษาออกแบบการ ผลิตกังหันลมจากต่างประเทศมีการใช้ความเร็วลมเฉลี่ยค่อน ข้างสูง ด้วยมีพลังงานลมสูง และต้องการนำพลังงานลมมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์เต็มกำลังที่ มีอยู่ ดังนั้นต้องนำกังหันลมมาวิเคราะห์ด้านเทคโนโลยีให้มีความเหมาะสมสำหรับการใช้งานในประเทศ และ ออกแบบเพื่อสร้างต้นแบบที่เครื่องจักรและขีดความสามารถของบริษัทผู้ผลิต ที่มีอยู่ในปัจจุบันสามารถผลิตขึ้นได้ด้วย โดยเฉพาะ ในด้านวัสดุศาสตร์ที่เป็นปัจจัยหลักต่อการออกแบบและการผลิตทาง วิศวกรรม โดยอาจมีการดัดแปลงเทคโนโลยีในการผลิตให้มี ความเหมาะสมต่อข้อจำกัดในทาง วัสดุวิศวกรรมเข้าด้วยกัน เมื่อสร้างและติดตั้งต้นแบบแล้วจะต้องมีการวิเคราะห์เปรียบเทียบผล ด้าน พลังงานที่ผลิตได้ ราคาต่อหน่วยในการผลิตการลงทุน เพื่อทำการสรุปผลและแนวทางการส่งเสริมให้มีการผลิตการใช้กังหัน ลมผลิตไฟฟ้า ในประเทศไทย
รายละเอียด
กังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าขนาด 5 กิโลวัตต์ จำนวน3 ชุด เป็นระบบเชื่อมต่อกับสายส่งหลักในสระเก็บน้ำพระรามเก้า โดยมีกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าแบบแนวแกนนอน 2 ชุด ผลิตในประเทศ 1 ชุดนำเข้า 1 ชุด และกังหันผลิตกระแสไฟฟ้าแบบแกนตั้ง 1 ชุดเพื่อทดสอบศักยภาพ การผลิตพลังงานต่อความเร็วลมระดับต่างๆเพื่อความเหมาะสมต่อการใช้งานและการขยายผลทางด้านพลังงานทดแทนต่อไป
• ความเร็วลมเริ่มทำการหมุน (start wind speed) ~ 3 เมตร/วินาที
• ความเร็วลมในการเริ่มผลิตไฟฟ้า (Cut in)~ 3.5 เมตร/ วินาที
• ความเร็วลมในการผลิตไฟสูงสุด (Rated Wind Speed) ~ 13 เมตร/วินาที
• ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางใบพัด (Rotor Dia.) = 6.5 เมตร
• ระบบส่ายหาทิศทางลม (Yaw Mechanisms) ปรับหาทิศทางลมด้วยตัวเอง
• ความเร็วรอบของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า 480 รอบ/นาที
กังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าแนวแกนนอน ความเร็วลมสูงขนาด 5 กิโลวัตต์ ทั่วไป กังหันลมผลิตไฟฟ้าความเร็วลมต่ำขนาด5000วัตต์ ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าที่สูงขึ้นโดยสามารถ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 5000 วัตต์ต่อหนึ่งชั่วโมงที่ความเร็วลม 13 เมตรต่อวินาที ระบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าได้ออกแบบระบบป้องกันการเกิดลมพายุด้วยการทำงานคู่กัน ทั้ง 2 ระบบ คือระบบกลไกจะ
• ความเร็วลมในการเริ่มผลิตไฟฟ้า (Cut in)~ 3.5 เมตร/ วินาที
• ความเร็วลมในการผลิตไฟสูงสุด (Rated Wind Speed) ~ 13 เมตร/วินาที
• ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางใบพัด (Rotor Dia.) = 6.5 เมตร
• ระบบส่ายหาทิศทางลม (Yaw Mechanisms) ปรับหาทิศทางลมด้วยตัวเอง
• ความเร็วรอบของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า 480 รอบ/นาที
กังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้าแนวแกนนอน ความเร็วลมสูงขนาด 5 กิโลวัตต์ ทั่วไป กังหันลมผลิตไฟฟ้าความเร็วลมต่ำขนาด5000วัตต์ ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าที่สูงขึ้นโดยสามารถ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 5000 วัตต์ต่อหนึ่งชั่วโมงที่ความเร็วลม 13 เมตรต่อวินาที ระบบกังหันลมผลิตไฟฟ้าได้ออกแบบระบบป้องกันการเกิดลมพายุด้วยการทำงานคู่กัน ทั้ง 2 ระบบ คือระบบกลไกจะ